Thursday, January 28, 2010

ดวงปี 2553 หมอลักษณ์ฟันธง

ดวงปี 2553 หมอลักษณ์ หมอลักษณ์ฟันธง 2553 ราศีมังกร ผู้ที่เกิดระหว่าง 16 ม.ค.-12 ก.พ.


ดวงปี 2553 หมอลักษณ์ หมอลักษณ์ฟันธง 2553 ราศีกุมภ์ ผู้ที่เกิดระหว่าง 13 ก.พ.-13 มี.ค.


ดวงปี 2553 หมอลักษณ์ หมอลักษณ์ฟันธง 2553 ราศีมีน ผู้ที่เกิดระหว่าง 14 มี.ค.-12 เม.ย.


ดวงปี 2553 หมอลักษณ์ หมอลักษณ์ฟันธง 2553 ราศีเมษ ผู้ที่เกิดระหว่างวันที่ 13 เม.ย. – 13 พ.ค.


ดวงปี 2553 หมอลักษณ์ หมอลักษณ์ฟันธง 2553 ราศีพฤษภ ผู้ที่เกิดระหว่าง 14 พ.ค.-13 มิ.ย.


ดวงปี 2553 หมอลักษณ์ หมอลักษณ์ฟันธง 2553 ราศีเมถุน ผู้ที่เกิดระหว่าง 14 มิ.ย.-14 ก.ค.


ดวงปี 2553 หมอลักษณ์ หมอลักษณ์ฟันธง 2553 ราศีกรกฎ ผู้ที่เกิดระหว่าง 15 ก.ค.-16 ส.ค.


ดวงปี 2553 หมอลักษณ์ หมอลักษณ์ฟันธง 2553 ราศีสิงห์ ผู้ที่เกิดระหว่าง 17 ส.ค.- 16 ก.ย.


ดวงปี 2553 หมอลักษณ์ หมอลักษณ์ฟันธง 2553 ราศีกันย์ ผู้ที่เกิดระหว่าง 17 ก.ย.-16 ต.ค.


ดวงปี 2553 หมอลักษณ์ หมอลักษณ์ฟันธง 2553 ราศีตุลย์ ผู้ที่เกิดระหว่าง 17 ต.ค.-15 พ.ย.


ดวงปี 2553 หมอลักษณ์ หมอลักษณ์ฟันธง 2553 ราศีพิจิก ผู้ที่เกิดระหว่าง 16 พ.ย.-15 ธ.ค.


ดวงปี 2553 หมอลักษณ์ หมอลักษณ์ฟันธง 2553 ราศีธนู ผู้ที่เกิดระหว่าง 16 ธ.ค.-15 ม.ค.

Wednesday, January 27, 2010

คาถาสำหรับขอขมาพระรัตนตรัย และเพื่อถอนคำสาปแช่ง ในอดีตชาติ


สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี
ตั้งนะโม ๓ จบ

ชินะปัญชะระ ปะริตตังมัง
รักขะตุ สัพพะทา
หรือ
วิญญาณสัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา นะโมพุทธายะ ๙ จบ
(ขอพระอนันตชินเจ้าในบัญชรแวดวงกงล้อม พระโมรปริตร และ พระขันธปริตร อรหันต์เจ้า จงคุ้มครองรักษาข้าพเจ้าให้พ้นจากภยันตรายสรรพสิ่งทั้งปวง ตลอดเวลาทุกเมื่อ)

ชาติที่แล้วเราไปผูกมัดใครไว้บ้างหรือปล่าว

หากมีผู้ใดเคยสร้างเวรสร้างกรรมกับข้าพเจ้า
ไม่ว่าจะชาติใดภพใดก็ตาม ข้าพเจ้ายินดีอโหสิกรรมให้ ขอถอนความพยาบาท ความอาฆาต และคำสาปแช่งในทุกชาติทุกภพ
ขอให้ข้าพเจ้าพ้นจากคำสาปแช่งของปวงชนของเจ้ากรรมนายเวร


คนเราเกิดมาหลายภพหลายชาติ
แต่ละคนมีเจ้ากรรมนายเวรที่แตกต่างกัน การสวดขอขมาเพื่อลดและปลดหนี้กรรมให้น้อยลง
คาถา บทนี้ เป็นคาถาที่ใช้สำหรับขอขมาพระรัตนตรัย และใช้เพื่อถอนคำสาปแช่ง ในอดีตชาติ ที่ติดตามมา เพราะเราไม่รู้ว่าเคยได้ ล่วงเกินปรามาสใครไปบ้างก็ไม่รู ไม่เว้นแม้กระทั้ง พระพุทธองค์ พระอรหันต์ พ่อ แม่ เป็นต้น เพราะบางคนทำการใดๆ มักมีอุปสรรค หรือมักมีคนไม่ชอบหน้า

ขอผู้ได้รับใบคำขอขมาและอธิษฐานจิตนี้
กรุณาส่งให้ผู้อื่นต่อเพื่อสร้างผลบุญบารมีต่อไป


-------------------------------------------------------

Kenko พลูคาว คาวตอง ช่วยเรื่องเบาหวาน มะเร็ง 750 มิลิลิตร




สรรพคุณ
- รักษาโรคมะเร็ง ทำลายเซลล์มะเร็ง โดยเฉพาะเกี่ยวกับมะเร็งปอด มะเร็งต่อมไทรอยด์ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเม็ดเลือดขาว
- เนื้องอกในสมอง
- ริดสีดวงทวาร โดยไม่ต้องผ่าตัด
- โรคกาม หนองใน โรคเป็นแผลเปื่อยพุพอง ทำให้น้ำเหลืองแห้ง
- โรคผิวหนัง แก้พิษแมลงป่อง พอกฝี
- ทางเดินปัสสาวะอักเสบ
- เพิ่มการแบ่งตัวของเซลล์เม็ดเลือดขาว รักษาอาการอักเสบต่าง ๆ เช่น ฝีอักเสบ ปอดอักเสบ หลอดลมอักเสบ ตาอักเสบ ตับอักเสบ ไตอักเสบ
- เยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากเชื้อรา หูชั้นกลางอักเสบ
- บำบัดฟื้นฟู โรคความดันโลหิตสูง (Artrosclerosis)
- เพิ่มภูมิคุ้มกันหรือภูมิต้านทานโรค ยับยั้งเนื้องอก กระตุ้นเซลล์น้ำเหลือง ยับยั้งเบาหวาน
- รักษาความสมดุลของร่างกายและอื่นๆ
- ป้องกันไข้ทรพิษ หัด หัดเยอรมัน การติดเชื้อทางเดินหายใจ HIV เริม งูสวัด
- ฤทธิ์เกี่ยวกับการต้านเชื้อราและแบคทีเรีย เยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากเชื้อรา Cryptocoecus
- โรคทางเดินอาหาร
- โรคปริทันต์ โรคติดเชื้อในปาก
-โรคกลากเกลื้อน
- ฤทธิ์ระงับปวด เร่งการเจริญเติบโตของเซลล์ ห้ามเลือด รักษาปริมาณของเหลวในร่างกาย
- ฤทธิ์ขับปัสสาวะ พบสารฟลาโวนอยด์ ที่แยกได้จากใบพลูคาวเป็นสารสำคัญในการออกฤทธิ์
- ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ น้ำมันหอมระเหยจากการกลั่นส่วนเหนือดินของพลูคาว พบว่ามีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียอย่างแรงต่อเชื้อ Bacillus cereus และ B. Subtilis เชื้ออหิวาต์ Vibrio cholerae 0-1 และ V. Parahaemolyticus
- ฤทธิ์ต้านไวรัส น้ำมันหอมระเหยจากพลูคาวสามารถยับยั้งการเจริญของไวรัสที่เป็นสาเหตุของไข้หวัดใหญ่ และไวรัสที่เป็น
สาเหตุของโรคเอดส์ (HIV)
ปริมาณ 750ml

เลขที่ อย./เลขที่จดแจ้ง : 50-2-05159-2-0007 

Sunday, January 24, 2010

The Legend of Quan Yin Goddess of Mercy

Holy Mountain Trading Company's

The Legend of Quan Yin, Goddess of Mercy.
One of the deities most frequently seen on altars in China's temples is Quan Yin (also spelled Kwan Yin, Kuanyin; in pinyin, Quan Yin, ivory stone with dyes. Guanyin). In Sanskrit, her name is Padma-pâni, or "Born of the Lotus." Quan Yin, alone among Buddhist gods, is loved rather than feared and is the model of Chinese beauty. Regarded by the Chinese as the goddess of mercy, she was originally male until the early part of the 12th century and has evolved since that time from her prototype, Avalokiteshvara, "the merciful lord of utter enlightment," an Indian bodhisattva who chose to remain on earth to bring relief to the suffering rather than enjoy for himself the ecstasies of Nirvana. One of the several stories surrounding Quan Yin is that she was a Buddhist who through great love and sacrifice during life, had earned the right to enter Nirvana after death. However, like Avlokiteshvara, while standing before the gates of Paradise she heard a cry of anguish from the earth below. Turning back to earth, she renounced her reward of bliss eternal but in its place found immortality in the hearts of the suffering. In China she has many names and is also known as "great mercy, great pity; salvation from misery, salvation from woe; self-existent; thousand arms and thousand eyes," etc. In addition she is often referred to as the Goddess of the Southern Sea -- or Indian Archipelago -- and has been compared to the Virgin Mary. She is one of the San Ta Shih, or the Three Great Beings, renowned for their power over the animal kingdom or the forces of nature. These three Bodhisattvas or P'u Sa as they are know in China, are namely Manjusri (Skt.) or Wên Shu, Samantabhadra or P'u Hsien, and Avalokitesvara or Quan Yin.
Quan Yin is a shortened form of a name that means One Who Sees and Hears the Cry from the Human World. Her Chinese title signifies, "She who always observes or pays attention to sounds," i.e., she who hears prayers. Sometimes possessing eleven heads, she is surnamed Sung-Tzu-Niang-Niang, "lady who brings children." She is goddess of fecundity as well as of mercy. Worshipped especially by women, this goddess comforts the troubled, the sick, the lost, the senile and the unfortunate. Her popularity has grown such through the centuries that she is now also regarded as the protector of seafarers, farmers and travelers. She cares for souls in the underworld, and is invoked during post-burial rituals to free the soul of the deceased from the torments of purgatory. There are temples all over China dedicated to this goddess, and she is worshipped by women in South China more than in the North, on the 19th day of the 2nd, 6th and 9th moons. (For example, it is a prevalent birth custom in Foochow that when a family has a daughter married since the 15th day of the previous year, who has not yet given birth to a male infant, a present of several articles is sent to her by her relatives on a lucky day between the 5th and 14th of the first month. The articles sent are as follows: a paper lantern bearing a picture of the Goddess of Mercy, Quan Yin, with a child in her arms, and the inscription, "May Quan Yin present you with a son"; oysters in an earthenware vessel; rice-cakes; oranges; and garlic.) Worshippers ask for sons, wealth, and protection. She can bring children (generally sons, but if the mother asks for a daughter she will be beautiful), protect in sorrow, guide seamen and fishermen (thus we see her "crossing the waves" in many poses), and render harmless the spears of an enemy in battle. Her principal temple on the island of Putuoshan, in the Chusan Archipelago off the Zhejiang coast near Ningbo, is a major pilgrimage site sacred to the Buddhists, the worship of Quan Yin being its most prominent feature on account of the fact that the Goddess is said to have resided there for nine years, reigning as the Queen of the Southern Seas. The full name of the island is P'u t'o lo ka, from Mount Pataloka, whence the Goddess, in her transformation as Avalokiteshvara, looks down upon mankind. Miao Feng Shan (Mount of the Wondrous Peak) attracts large numbers of pilgrims, who use rattles and fireworks to emphasize their prayers and attract her attention. In 847, the first temple of Quan Yin was built on this island. By 1702, P'u Tuo had four hundred temples and three thousand monks, and was the destination of countless pilgrims. (By 1949, however, P'u Tuo was home to only 140 monasteries and temples.)
No other figure in the Chinese pantheon appears in a greater variety of images, of which there are said to be thousands of different incarnations or manifestations. Quan Yin is usually depicted as a barefoot, gracious woman dressed in beautiful, white flowing robes, with a white hood gracefully draped over the top of the head and carrying a small upturned vase of holy dew. (However, in the Lamaistic form, common in bronze from eighteenth-century China and Tibet, she is often entirely naked.) She stands tall and slender, a figure of infinite grace, her gently composed features conveying the sublime selflessness and compassion that have made her the favorite of A fine 19th century Satsuma Quan Yin standing in flowing robes.  Size: 25-1/2 inches high. all deities. She may be seated on an elephant, standing on a fish, nursing a baby, holding a basket, having six arms or a thousand, and one head or eight, one atop the next, and four, eighteen, or forty hands, which which she strives to alleviate the sufferings of the unhappy. She is frequently depicted as riding a mythological animal known as the Hou, which somewhat resembles a Buddhist lion, and symbolises the divine supremacy exercised by Quan Yin over the forces of nature. Her bare feet are the consistent quality. On public altars, Quan Yin is frequently flanked by two acolytes, to her right a barefoot, shirtless youth with his hands clasped in prayer known as Shan-ts'ai (Golden Youth), and on her left a maid demurely holding her hands together inside her sleeves known as Lung-nü (Jade Maiden). Her principal feast occurs yearly on the nineteenth day of the second lunar month. However, she is fortunate in having three birthdays, the nineteenth of the second, sixth and ninth months. There are many metamorphoses of this goddess. She is the model of Chinese beauty, and to say a lady or a little girl is a Kwan Yin is the highest compliment that can be paid to grace and loveliness.
According to one ancient legend her name was Miao Shan, and she was the daughter of an Indian Prince. Youthful and serene, she chose to follow a path of self-sacrifice and virtue, and became a pious follower of Buddha, herself attaining the right to budddhahood but remaining on earth to help mankind. In order to convert her blind father, she visited him transfigured as a stranger, and informed him that were he to swallow an eyeball of one of his children, his sight would be restored. His children would not consent to the necessary sacrifice, whereupon the future goddess created an eye which her parent swallowed and he regained his sight. She then persuaded her father to join the Buddhist priesthood by pointing out the folly and vanity of a world in which children would not even sacrifice an eye for the sake of a parent. Large wooden gilded Quan Yin plaque with altar.
Another Miao Shan legend was that the son of the dragon king had taken the form of a carp and was caught by a fisherman and displayed for sale in the market place. Miao Shan sent her servant to buy the fish and released it.
As related in yet another legend Quan Yin was said to be the daughter of a sovereign of the Chou dynasty, who strenously opposed her wish to be a nun, and was so irritated by her refusal to marry that he put her to humiliating tasks in the convent. This means of coercion failed, and her father then ordered her to be executed for disobedience to his wishes. But the executioner, a man of tender heart and some forethought, brought it about that the sword which was to descend upon her should break into a thousand pieces. Her father thereupon ordered her to be stifled. As the story goes, she forthwith went to Hell, but on her arrival the flames were quenched and flowers burst into bloom. Yama, the presiding officer, looked on in dismay at what seemed to be the summary abolition of his post, and in order to keep his position he sent her back to life again. Carried in the fragrant heart of a lotus flower she went to the island of Putuo, near Ningbo. One day her father fell ill and according to a Chinese custom, she cut the flesh from her arms that it might be made into medicine. A cure was effected, and in his gratitude her father ordered her statue to be made "with completely-formed arms and eyes." Owing to a misunderstanding of the orders the sculptor carved the statue with many heads and many arms, and so it remains to this day.
The image of this divinity is generally placed on a special altar at the back of the great Shakyamuni Buddha behind a screen, and facing the north door, in the second half of the Buddhist monastery. Quan Yin is also worshipped by the Taoists, and they imitate the Buddhists in their descriptions of this deity, speaking in the same manner of her various metamorphoses, her disposition to save the lost, her purity, wisdom, and marvel-working power.
From early Ch'ing times to the present, many thousands of statues of Quan Yin have been carved in jade. The Maternal Goddess, the Protectress of Children, the Observer of All Sounds, Quan Yin is a favorite figure in domestic shrines. As well, her image is carved on small jades which Chinese women offer faithfully at the temples dedicated to her. She also is the single most important figure crafted in blanc de Chine ware, with approximately nine out of every ten figures from Dehua representing that divinity in one or other of her manifestations. (The Quan Yins often were described to European purchasers as "white Santa Marias," so as to make them more desirable to a Christian market.)

Thanks Holy Mountain information

---------------------------------------------------------------------------------------

ของขวัญวันแม่ที่แม่ต้องชอบเพราะเป็นกล่องเพลงแบบ Vintage บรรจุเพลงสุนทราภรณ์ถึงกว่า 2000 เพลง...อ่านต่อ!!!



เจ้าแม่กวนอิม

เจ้าแม่กวนอิม พระโพธิสัตว์ ของพระพุทธศาสนา ฝ่ายมหายาน เป็นองค์เดียวกันกับพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ในภาษาสันสกฤต ซึ่งมีต้นกำเนิดจากพระสูตรมหายานในอินเดีย และได้ผสมผสานกับความเชื่อพื้นถิ่นดั้งเดิมของจีน คือตำนานเรื่องพระธิดาเมี่ยวซ่าน ก่อให้เกิดเป็นพระโพธิสัตว์กวนอิมใน ภาคสตรีขึ้น เพื่อแสดงออกถึงความอ่อนโยน และแสดงถึงความเมตตากรุณาให้เด่นชัดยิ่งขึ้นดังเช่นความรักของมารดาที่มีต่อ บุตร ซึ่งเป็นการผสมผสานกลมกลืนทางความเชื่อที่ปราศจากข้อขัดแย้ง เนื่องจากในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรได้อธิบายว่า พระอวโลกิเตศวรนั้น สามารถแบ่งภาคเพื่อโปรดสรรพสัตว์ได้มากมายทั้งปางบุรุษและสตรี และเป็นธรรมดาของพระโพธิสัตว์มหายานที่เมื่อเข้าไปสู่ดินแดนอื่นทั้งทิเบต จีน หรือญี่ปุ่น ย่อมผสมผสานกลมกลืนได้กับเทพท้องถิ่นนั้น ๆ อย่างในกรณีพระอวโลกิเตศวรนี้ Sir Charles Eliot ได้ตั้งข้อสังเกตว่า "คงเนื่องมาจากความสับสนทางความคิดของชาวจีนในยุคนั้น ซึ่งบูชาเทพเจ้าต่างๆ ของตนอยู่แล้ว และเมี่ยวซ่านก็เป็นเทพวีรชนดั้งเดิมอยู่ก่อน พออารยธรรมพระโพธิสัตว์จากอินเดียแผ่เข้าไปถึง ได้เกิดการผสานทางวัฒนธรรมเปลี่ยนชื่อเสียงคงไว้เพียงแต่คุณลักษณะต่าง ๆ พอให้แยกออกว่าเป็นพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์"

พระโพธิสัตว์กวนอิม (ประสูติ 19 เดือนยี่จีน) ชาติสุดท้ายเป็น ราชธิดานาม เมี่ยวซ่าน เดิมเป็นเทพธิดา มาจุติยังโลกมนุษย์เพื่อมาช่วยปลดเปลื้องทุกข์ภัยแก่มวลมนุษย์ เป็นราชธิดาองค์สุดท้ายของกษัตริย์ เมี่ยวจวง ซึ่งมีราชธิดา 3 องค์ องค์โตชื่อ เมี่ยวอิม องค์รองชื่อ เมี่ยวหยวน เยาว์วัยเป็นพุทธมามกะ รู้แจ้งในหลักธรรมลึกซึ้ง ตั้งพระทัยแน่วแน่จะบำเพ็ญภาวนา เพื่อหลุดพ้นสังสารวัฏ ออกบวชวันที่ 19 เดือน 9 พระเจ้าเมี่ยวจวงไม่เห็นด้วย จะบังคับให้เลือกราชบุตรเขย เพื่อจะได้สืบทอดราชบัลลังก์ต่อไป แต่เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านไม่สนพระทัยเรื่องลาภ ยศ สรรเสริญ อันจอมปลอม แม้จะถูกพระบิดาดุด่าอย่างไร องค์หญิงก็ไม่เคยนึกโกรธเคืองแต่อย่างใด

ต่อมาองค์หญิงสามได้ถูกขับไปทำงานหนักในสวนดอกไม้ เช่น หาบน้ำ ปลูกดอกไม้ ทั้งนี้เพื่อทรมานให้เปลี่ยนความตั้งใจ แต่ก็มีเหล่ารุกขเทวดา มาช่วยทำแทนให้ทั้งหมด พระบิดาเมื่อเห็นว่าไม่ได้ผล จึงรับสั่งให้หัวหน้าแม่ชี นำองค์หญิงสามไปอยู่ที่วัดนกยูงขาว และให้เอางานของแม่ชีทั้งวัดมอบให้องค์หญิงทำคนเดียว แต่องค์หญิงมีพระทัยเด็ดเดี่ยว ไม่เกี่ยงงานการต่างๆ ก็มีเหล่าเทพารักษ์มาช่วยทำแทนให้อีก พระเจ้าเมี่ยวจวงเข้าพระทัยว่า พวกแม่ชีไม่กล้าเคี่ยวเข็ญใช้งานหนัก ก็ยิ่งทรงกริ้วหนักขึ้น สั่งให้ทหารเผาวัดนกยูงขาวจนวอดเป็นจุณไป พร้อมกับพวกแม่ชีทั้งวัด มีแต่เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านเท่านั้นที่ปลอดภัยรอดชีวิตมาได้

พระเจ้าเมี่ยวจวง ทรงทราบดังนั้น จึงรับสั่งให้นำตัวราชธิดาไปประหารชีวิต เทพารักษ์คอยคุ้มครองเจ้าหญิงอยู่ โดยเนรมิตทองทิพย์เป็นเกราะห่อหุ้มตัว คมดาบของนายทหารจึงไม่อาจระคายพระวรกาย ดาบหักถึง 3 ครั้ง 3 ครา พระบิดาทรงกริ้วยิ่งนัก โดยเข้าพระทัยว่านายทหารไม่กล้าประหารจริง จึงให้ประหารนายทหารแทน แล้วรับสั่งให้จับเจ้าหญิงไปแขวนคอ ทว่าผ้าแพรที่แขวนคอก็ขาดสะบั้นลงอีก

ทันใดนั้นปรากฏมีเสือเทวดาตัวหนึ่งได้นำเจ้าหญิงขึ้นพาดหลังแล้วเผ่นหนีไปที่เขาเซียงซัน ต่อมา เทพไท่ไป๋ ได้แปลงร่างเป็นชายชรามาโปรดเจ้าหญิง ชี้แนะเคล็ดวิธีการบำเพ็ญเพียรเครื่องดับทุกข์ จนสามารถบรรลุมรรคผลสำเร็จธรรม วันที่ 19 เดือน 6 ข้างฝ่ายพระบิดาเข้าพระทัยว่า เจ้าหญิงถูกเสือคาบไปกินเสียแล้ว จึงไม่ได้ติดใจตามราวีอีก

ต่อมาไม่นานบาปกรรมที่พระองค์ก่อไว้ส่งผล เกิดป่วยด้วยโรคร้ายแรง ไม่มียารักษาให้หายได้ เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านได้ ทรงทราบด้วยญาณวิถีว่า พระบิดากำลังประสบเคราะห์กรรมอย่างหนัก ด้วยความกตัญญูกตเวทีเป็นเลิศ มิได้ถือโทษโกรธการกระทำพระบิดาแม้แต่น้อย ทรงได้สละดวงตาและแขนสองข้าง เพื่อรักษาพระบิดาจนหายจากโรคร้าย ว่ากันว่า ภายหลังสำเร็จอรหันต์ ได้ดวงตาและพระกรคืน เคยแสดงปาฏิหารย์เป็นปางกวนอิมพันมือ องค์หญิงเมี่ยวซ่านนั้น ตอนแรกเป็นชาวพุทธ ตอนหลังเทพไท่ไป๋ได้มาโปรด ชี้แนะหนทางดับทุกข์ เหตุนี้พระโพธิสัตว์กวนอิมจึงเป็นเทพทั้งฝ่ายพุทธและฝ่ายเต๋าในเวลาเดียวกัน

เรื่องนี้คัดลอกมาจาก สารานุกรมเสรีค่ะ เรื่องนี้บรามีได้ทำการเล่าออกอากาศในช่วงของรายการอาจารย์โอม พยากรณ์ไปแล้ว ใครที่พลาดไม่ได้ฟัง ก็เชิญอ่านได้เลยนะคะ

Tuesday, January 19, 2010

หาญาติอาจารย์ใหญ่

จาก ภาควิชากายวิภาคศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ด้วย ภาควิชากายวิภาคศาสตร์จะจัดงานพระราชทานเพลิงศพประจำปีการศึกษา 2553

ในวันที่ 13-14 มีนาคม 53 นี้ ที่วัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร แต่ภาควิชากายวิภาคศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยยังไม่สามารถติดต่อญาติอาจารย์ใหญ่บางส่วนได้

ถ้ามีผู้ใดรู้จักอาจารย์ใหญ่และญาติอาจารย์ใหญ่ ดังรายนามต่อไปนี้
รายชื่ออาจารย์ใหญ่ รายชื่อญาติ

1. น.ส.เขมาวดี ขันติตระกูล ญาติ คุณสกุล คำอ่อน
2. นางพิกุล ขำศิริ ญาติ คุณเดชา ขำศิริ
3. นายพิทยา พิทยาธนาคม ญาติ คุณบุญฐิตา พิทยาธนาคม และ คุณ วิไล

ขอความกรุณาติดต่อกลับมาได้ที่ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โทร 02-2564281 ต่อ1405 และ 02-2564000 ต่อ 3247
เพื่อให้ญาติของอาจารย์ใหญ่ผู้มีอุปการะคุณแก่วงการแพทย์ได้ส่งท่านอาจารย์ใหญ่เป็นครั้งสุดท้าย

ขอบคุณ และ ขออนุโมทนาบุญด้วย
ภาควิชากายวิภาคศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

---------------------------------------------------------------------------------------

ของขวัญวันแม่ที่แม่ต้องชอบเพราะเป็นกล่องเพลงแบบ Vintage บรรจุเพลงสุนทราภรณ์ถึงกว่า 2000 เพลง...อ่านต่อ!!!